Blog Archive
-
►
2011
(1)
- ► 06/19 - 06/26 (1)
-
►
2010
(7)
- ► 10/24 - 10/31 (1)
- ► 09/19 - 09/26 (1)
- ► 09/12 - 09/19 (2)
- ► 08/22 - 08/29 (1)
- ► 08/15 - 08/22 (2)
-
▼
2009
(195)
- ► 12/06 - 12/13 (2)
- ► 11/22 - 11/29 (1)
- ► 11/15 - 11/22 (1)
- ► 08/23 - 08/30 (1)
- ► 08/16 - 08/23 (2)
- ► 08/09 - 08/16 (5)
- ► 08/02 - 08/09 (9)
- ► 07/26 - 08/02 (15)
- ► 07/19 - 07/26 (21)
- ► 07/12 - 07/19 (22)
- ► 07/05 - 07/12 (13)
- ► 06/28 - 07/05 (9)
- ▼ 06/21 - 06/28 (6)
- ► 06/14 - 06/21 (14)
- ► 06/07 - 06/14 (9)
- ► 05/31 - 06/07 (4)
- ► 05/24 - 05/31 (4)
- ► 05/17 - 05/24 (9)
- ► 05/03 - 05/10 (3)
- ► 04/05 - 04/12 (3)
- ► 03/29 - 04/05 (7)
- ► 03/22 - 03/29 (5)
- ► 03/15 - 03/22 (11)
- ► 03/08 - 03/15 (5)
- ► 03/01 - 03/08 (14)
Labels
- 100เรื่องความเป็นไทย (37)
- ข่าว (13)
- คลายเครียด (1)
- แค่อยากเล่า (41)
- โฆษณาดีๆ (4)
- จุดกำเนิด (3)
- ชุดไทยควรรู้ (8)
- ต้นกล้าอาชีพ (13)
- ตำนานโบราณ (18)
- ทริปริมทาง (7)
- นิยายดีๆ (5)
- บทความดีๆ (30)
- ภาพหาดูอยาก (6)
- รายการ วิกสยาม (7)
- หนังเก่าหน้าดู (1)
- หาเงินทางเน็ท (3)
- otopไทย (7)
ขับเคลื่อนโดย Blogger.
จบแล้วกับโครงการต้นกล้าอาชีพ
08:55 | เขียนโดย
mikaalls |
แก้ไขบทความ
ตอนนี้ผมก็อบรมครบแล้วครับ เป็นกิจกรรมที่ได้เพื่อนเพิ่มครับ ที่เล่นเอามึนๆไปเหมือนกัน แต่ผมว่าโครงการต้นกล้านี้สำหรับผมทำให้เห็นอีกมุนหนึ่งว่าเรายังมีความหวังเสมอ พอจบโครงการปุ้บเพื่อนๆน้องๆที่ร่วมโครงการขอมีความคิดว่าเราควรจะตั้งบริษัท อือก้ดีเหมือนกันครับ แล้วเป็นยังไงผมจะมาเหล้าต่อครับ
ป้ายกำกับ:
ต้นกล้าอาชีพ
|
0
ความคิดเห็น
แนะนำ Omise อีกร้านที่ชาวเนตไปร่วมให้กำลังใจ
02:42 | เขียนโดย
mikaalls |
แก้ไขบทความ
เนื้องจากคราวที่แล้วเป็นหอยทอดคราวนี้ขออาหารญี่ปุ่นบ้างละกันครับเห็นเพื่อนๆแนะนำกันมาแลยอยากจะช่วยเขาหน่อย
Omise เป็นร้านอาหารญี่ปุ่นของคุณลุงชาวญี่ปุ่นอายุเยอะ (ทำกับคุณป้าคนไทยอีกคน รวมเป็น 2 คน)
"... เนื่องจากเป็นร้านที่คนค้นพบไม่นาน(แต่จริงๆก็เปิดมานานแล้ว) โดยเจอปัญหาบ้าง เช่น คุณลุงกุ๊กตาจะมองไม่ชัดเท่าไร และอ่านภาษาไทยไม่ได้เลย หรือไม่ก็พอคนเยอะ ก็เริ่มบริการไม่ทัน มีหลงลืม ทำออร์เดอร์ผิดบ้าง เนื่องจากลุงเค้าก็อายุมากแล้ว แต่เค้าก็ใจรักในการทำอาหาร ดังนั้นคนในพันทิปและเวปบอร์ดอื่นๆ ก็มีการช่วยเหลือร้านของลุงด้วย อ่านไทยไม่ออก ตาไม่ดี เปิดเป็นร้านเล็กๆ ขึ้นมา ..."

หน้าร้าน

รูปคุณลุงกะคุณป้า

ภาพเมนูที่ชาวเน็ตช่วยทำให้ใหม่

ช่วยทำบทพากย์ภาษาไทย
** อ่านแล้วก็ซึ้งใจน้ำใจคนไทยครับ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ ส่วนตัวก็อยากไปให้กำลังใจแกเหมือนกัน
Omise เป็นร้านอาหารญี่ปุ่นของคุณลุงชาวญี่ปุ่นอายุเยอะ (ทำกับคุณป้าคนไทยอีกคน รวมเป็น 2 คน)
"... เนื่องจากเป็นร้านที่คนค้นพบไม่นาน(แต่จริงๆก็เปิดมานานแล้ว) โดยเจอปัญหาบ้าง เช่น คุณลุงกุ๊กตาจะมองไม่ชัดเท่าไร และอ่านภาษาไทยไม่ได้เลย หรือไม่ก็พอคนเยอะ ก็เริ่มบริการไม่ทัน มีหลงลืม ทำออร์เดอร์ผิดบ้าง เนื่องจากลุงเค้าก็อายุมากแล้ว แต่เค้าก็ใจรักในการทำอาหาร ดังนั้นคนในพันทิปและเวปบอร์ดอื่นๆ ก็มีการช่วยเหลือร้านของลุงด้วย อ่านไทยไม่ออก ตาไม่ดี เปิดเป็นร้านเล็กๆ ขึ้นมา ..."

หน้าร้าน

รูปคุณลุงกะคุณป้า

ภาพเมนูที่ชาวเน็ตช่วยทำให้ใหม่

ช่วยทำบทพากย์ภาษาไทย
** อ่านแล้วก็ซึ้งใจน้ำใจคนไทยครับ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ ส่วนตัวก็อยากไปให้กำลังใจแกเหมือนกัน
อ่านเพิ่มได้ที่ http://dunbine.exteen.com/20080306/omise
ป้ายกำกับ:
ทริปริมทาง
|
0
ความคิดเห็น
แนะนำร้านหอยทอด ร้านนี้ต้องการกำลังใจ
04:57 | เขียนโดย
mikaalls |
แก้ไขบทความ
บทความนี้เป็นบทความที่ได้มาจากเว็บ http://webboard.gg.in.th/topic/41/64389 ผมเห็นว่าหน้าสนใจดีลยขอลอกพี่แกมาทั้งดุ้นเลย
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วฉันไปทำธุระที่ตลาดอุดมสุขพัฒนาซึ่งทางเข้าตลาดจะเลยสามแยกอุดมสุข
(ถนนสุขุมวิท)ไป ประมาณ 100 เมตรอยู่ซ้ายมือ
พอดีติดเที่ยงก็เลยหาข้าวกินแถวนั้นก็บังเอิญเหลือบไปเห็นร้านขายผัดไทยและหอยทอดเป็นร้านขนาด
หนึ่งห้องแถวและมีโต๊ะอยู่ 2 ตัวให้ลูกค้านั่ง คนผัดเป็นคนจีนอายุประมาณ 60 ปี
พอฉันเข้าไปนั่งแกดีใจมากที่มีลูกค้าเข้าร้าน ฉันสั่งหอยทอดหนึ่งจานแกเริ่มจากการใส่ฟืนลงในเตาถ่าน
ที่มีถ่านแดงอยู่บ้างพอสมควรแล้ว ฉันถามแกว่าทำไมไม่ใช้เตาแก๊สจะได้ร้อนเร็ว
แกบอกว่าการผัดหอยทอดให้อร่อยต้องใช้กะทะอย่างหนาและต้องร้อนอยู่ตลอดเวลา
เมื่อจะผัดจริงถึงค่อยใส่ฟืนเร่งไฟ และแกยังเอาหอยออส่วนที่อยู่ในถุงพลาสติคแช่เย็น
ไว้มาให้ฉันดูว่าแกใช้หอย ออส่วนขนาดใหญ่ และแกจะใส่ แป้งน้อยมากในผัดหอยทอด
ซึ่งร้านอาหารส่วนใหญ่จะใส่แป้งเยอะ
แกพิถีพิถันในการผัดมาก ประมาณว่าถ้าจะให้อร่อยต้องใจเย็นต่อมาแกเล่าว่าแกอยู่ตัวคนเดียวไม่มีลูก
หลานและครอบครัว แกบอกฉันว่าถ้าหอยทอดแกอร่อยก็ให้ช่วยแนะนำต่อด้วย แกจะได้มีกำลังใจขายต่อ
ไป
ทุกวันนี้ไม่ค่อยมีลูกค้าเลยแกเปิดขวดน้ำดื่มเย็นๆให้ลูกค้ากินฟรีด้วยนะ
ฉันไม่ค่อยสันทัดเรื่องกินซักเท่าไรแต่ก็ขอบอกว่าหอยทอดแกอร่อยจริงๆ รสชาดเดียวกับในภัตตาคาร
จีนทีเดียว
จะไม่ใช่รสชาดเหมือนที่ขายในร้านอาหารทั่วไป
ถ้าเพื่อนๆผ่านแถวนั้นอยากให้แวะไปลองชิมฝีมือเก่าของอาโกคนนี้ถ้าไม่ถูกปากก็ถือซะว่าช่วยให้คน
แก่มีรายได้
เพราะอย่างน้อยแกก็ไม่ได้งอมืองอเท้าให้เป็นภาระแก่ผู้อื่น ร้านอาโกเป็นห้องแถวขนาดหนึ่งห้อง มืด
นิดหน่อยไม่ได้ตกแต่งอะไรเลย
เมื่อขับรถเข้าตลาดมาแล้วจะผ่านด่านรับบัตรก็ให้เลี้ยวขวานิดหนึ่งจะเห็นตึกแถวเรียงรายอยู่ข้างหน้า
ร้านอาโกอยู่ประมาณห้องที่สิบกว่าได้มั้งจุดสังเกตคือแกจะมีป้ายกระดาษเขียนว่า หอยทอดและผัด
ไทยอยู่หน้าเตาถ่าน
ฝากบอกต่อด้วยค่ะหวังว่าแกคงขายดีขึ้นเยอะจากน้ำใจคนไทยด้วยกัน

ป.ล.ผมเจอเลยเอามาบอก หวังว่าเพื่อนๆที่ใจดีจะบอกต่อหรือส่งต่อไปด้วยนะคับ ขอบคุณครับ


เนี่ยละคุณลุงหอยทอด ชื่อจริงคือ สิทธิศักดิ์ ฉายวิเชียร และผู้ช่วย ผู้อารี
คอยแวะมาดูแลคุณลุงตลอด คือ คุณ สุ









ลงรถเมล์สาย 511 ที่ระหว่างซอย 103 กับ 103/1
แล้วก็เดินเข้าไปตรงโรงหนังเก่า

อีกรูปกันหลง ดูดี ๆ ข้าง ๆ ร้านลุงแกมีร้านไอติมกะทิ อร่อยอีกละ ไว้เป็นของหวานปิดท้าย^^
^^
ยังไงถ้าผมได้ไปกินแล้วจะมาบอกครับ ไทยไม่ช่วยไทยแล้วใครจะช่วยเรา
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วฉันไปทำธุระที่ตลาดอุดมสุขพัฒนาซึ่งทางเข้าตลาดจะเลยสามแยกอุดมสุข
(ถนนสุขุมวิท)ไป ประมาณ 100 เมตรอยู่ซ้ายมือ
พอดีติดเที่ยงก็เลยหาข้าวกินแถวนั้นก็บังเอิญเหลือบไปเห็นร้านขายผัดไทยและหอยทอดเป็นร้านขนาด
หนึ่งห้องแถวและมีโต๊ะอยู่ 2 ตัวให้ลูกค้านั่ง คนผัดเป็นคนจีนอายุประมาณ 60 ปี
พอฉันเข้าไปนั่งแกดีใจมากที่มีลูกค้าเข้าร้าน ฉันสั่งหอยทอดหนึ่งจานแกเริ่มจากการใส่ฟืนลงในเตาถ่าน
ที่มีถ่านแดงอยู่บ้างพอสมควรแล้ว ฉันถามแกว่าทำไมไม่ใช้เตาแก๊สจะได้ร้อนเร็ว
แกบอกว่าการผัดหอยทอดให้อร่อยต้องใช้กะทะอย่างหนาและต้องร้อนอยู่ตลอดเวลา
เมื่อจะผัดจริงถึงค่อยใส่ฟืนเร่งไฟ และแกยังเอาหอยออส่วนที่อยู่ในถุงพลาสติคแช่เย็น
ไว้มาให้ฉันดูว่าแกใช้หอย ออส่วนขนาดใหญ่ และแกจะใส่ แป้งน้อยมากในผัดหอยทอด
ซึ่งร้านอาหารส่วนใหญ่จะใส่แป้งเยอะ
แกพิถีพิถันในการผัดมาก ประมาณว่าถ้าจะให้อร่อยต้องใจเย็นต่อมาแกเล่าว่าแกอยู่ตัวคนเดียวไม่มีลูก
หลานและครอบครัว แกบอกฉันว่าถ้าหอยทอดแกอร่อยก็ให้ช่วยแนะนำต่อด้วย แกจะได้มีกำลังใจขายต่อ
ไป
ทุกวันนี้ไม่ค่อยมีลูกค้าเลยแกเปิดขวดน้ำดื่มเย็นๆให้ลูกค้ากินฟรีด้วยนะ
ฉันไม่ค่อยสันทัดเรื่องกินซักเท่าไรแต่ก็ขอบอกว่าหอยทอดแกอร่อยจริงๆ รสชาดเดียวกับในภัตตาคาร
จีนทีเดียว
จะไม่ใช่รสชาดเหมือนที่ขายในร้านอาหารทั่วไป
ถ้าเพื่อนๆผ่านแถวนั้นอยากให้แวะไปลองชิมฝีมือเก่าของอาโกคนนี้ถ้าไม่ถูกปากก็ถือซะว่าช่วยให้คน
แก่มีรายได้
เพราะอย่างน้อยแกก็ไม่ได้งอมืองอเท้าให้เป็นภาระแก่ผู้อื่น ร้านอาโกเป็นห้องแถวขนาดหนึ่งห้อง มืด
นิดหน่อยไม่ได้ตกแต่งอะไรเลย
เมื่อขับรถเข้าตลาดมาแล้วจะผ่านด่านรับบัตรก็ให้เลี้ยวขวานิดหนึ่งจะเห็นตึกแถวเรียงรายอยู่ข้างหน้า
ร้านอาโกอยู่ประมาณห้องที่สิบกว่าได้มั้งจุดสังเกตคือแกจะมีป้ายกระดาษเขียนว่า หอยทอดและผัด
ไทยอยู่หน้าเตาถ่าน
ฝากบอกต่อด้วยค่ะหวังว่าแกคงขายดีขึ้นเยอะจากน้ำใจคนไทยด้วยกัน

ป.ล.ผมเจอเลยเอามาบอก หวังว่าเพื่อนๆที่ใจดีจะบอกต่อหรือส่งต่อไปด้วยนะคับ ขอบคุณครับ


เนี่ยละคุณลุงหอยทอด ชื่อจริงคือ สิทธิศักดิ์ ฉายวิเชียร และผู้ช่วย ผู้อารี
คอยแวะมาดูแลคุณลุงตลอด คือ คุณ สุ









ลงรถเมล์สาย 511 ที่ระหว่างซอย 103 กับ 103/1
แล้วก็เดินเข้าไปตรงโรงหนังเก่า

อีกรูปกันหลง ดูดี ๆ ข้าง ๆ ร้านลุงแกมีร้านไอติมกะทิ อร่อยอีกละ ไว้เป็นของหวานปิดท้าย^^

ยังไงถ้าผมได้ไปกินแล้วจะมาบอกครับ ไทยไม่ช่วยไทยแล้วใครจะช่วยเรา
ป้ายกำกับ:
ทริปริมทาง
|
0
ความคิดเห็น
อารายกับถนนข้าวสาร
06:39 | เขียนโดย
mikaalls |
แก้ไขบทความ
วันนี้แค่อยากจะบอกว่าต้นกล้าอาชีพที่ไปเรียนก็ใกล้จะจบแล้วเลยคิดว่าจะไปเที่ยวใหนกันดีน้องๆก็อายุม่ายถึง20คงไปผับมะได้แน่เลย น้องเล้กเลยบอกว่าไปข้าวสารแล้วนั่งร้านข้างนอกก้ได้เลยคิดว่าก็ดีเหมือนกัน แล้วเราก็เลยคิดได้ว่าควรเขียนถึงข้าวสารซะหน่อยตอนแรกกะเขียนถึงโรงเรียนในซอยข้าวสารแต่ไม่ไปยุ่งกะเขาดีกว่าจาปลอดภัยอิอิจะคุยเรื่องรถสามล้อก็กะว่าจะแยกไปต่างหากอีกเอางี้ละกัน ประวัติ อันนี้หละใช้เลยมาดูประวัติกัน
ถนนข้าวสารเป็นถนนที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2435 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกรมโยธาธิการได้ กราบบังคมทูลให้ตัดถนนตรอกข้าวสาร เริ่มตั้งแต่ถนนหน้าวัดชนะสงคราม (ซึ่งได้นามว่าถนนชนะสงคราม) ตัดมาทางตะวันออกตามตรอกข้าวสารแล้วสร้างสะพานข้ามคลองมาบรรจบกับถนนเฟื่องนครตอนหน้าสวนหลวงตึกดิน พระราชทานนามถนนตามเดิมว่า "ถนนข้าวสาร"
ถนนข้าวสาร เดิมเป็นย่านเก่าตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 เป็นตรอกที่ขายข้าวสาร เป็นแหล่งค้าขายข้าวสารที่ใหญ่ที่สุดของเขตพระนคร ซึ่งข้าวสารจำนวนมากจะถูกขนส่งมาจากฉางข้าวหลวง สะพานช้างโรงสี ริมคลองคูเมืองเดิม หรือ ปัจจุบันก็คือ คลองหลอด เลียบมาตามแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นที่ท่าเรือบางลำพู เพื่อนำข้าวมาขายให้แก่ชาวบ้านในชุมชนต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ นอกจากนี้ก็ยังขายถ่านหุงข้าว ของชำ โดยถัดออกไป 1 ถนน จะเป็นคลองที่เชื่อมต่อมาจากแม่น้ำเจ้าพระยา มีการค้าขายข้าวสารมากมายจึงเรียกว่าตรอกข้าวสาร (เพราะขนาดเล็ก) ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นถนนข้าวสาร หลังจากนั้นก็เริ่มเกิดชุมชนขึ้น และขยับขยายต่อไป ต่อมาเริ่มมีร้านขายของมากขึ้น เช่นร้านขายของเล่น อย่างลูกข่าง ร้านขายก๋วยเตี๋ยวเรือ
ต่อมาความเป็นอยู่ของชุมชนแห่งนี้เริ่มเปลี่ยนไป เมื่อมีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเข้ามาในช่วงปี พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นปีแห่งการเฉลิมฉลองกรุงเทพมหานครครบรอบ 200 ปี ได้เข้ามาเช่าห้องพักอาศัยเพื่อเที่ยวชมเมืองหลวงของไทยในช่วงเทศกาลสำคัญนี้ และเริ่มมีฝรั่งเข้ามามาถ่ายภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด โดยมีทีมงานกองถ่ายมาอยู่กันจำนวนมาก ที่มาเช่าที่ เช่าเกสเฮาส์ ซึ่งตอนนั้นยังไม่มี ก็ต้องเช่าจากบ้านที่อยู่แถวนั้นซึ่งใช้แบ่งเช่า จึงเป็นที่มาของเกสเฮาส์ เกสต์เฮ้าส์ของชาวต่างชาติเริ่มมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2528-2529 ระยะหลังเริ่มมีคนเข้ามาเรื่อย ๆ จนกลายเป็นศูนย์รวมของพวกแบ็คแพ็กเกอร์ที่มาท่องเที่ยวประเทศไทย จนเป็นที่โด่งดังในที่สุด ก่อนที่จะมาปรับเปลี่ยนรูปแบบอีกทีในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมากลายเป็นย่าน บันเทิงยามราตรีที่สำคัญของกรุงเทพฯ(เป็นไปได้ไงอะจากร้านขาของเล่นนี้นะ)
นนข้าวสารถือเป็นถนนที่ได้รับความนิยมในการเล่นน้ำในวันสงกรานต์ที่คราคร่ำไปด้วยนักท่องเที่ยวต่างชาติจากทั่วทุกมุมโลก การเล่นสงกรานต์บนถนนข้าวสารเริ่มเมื่อประมาณ พ.ศ. 2533 เนื่องจากที่ถนนข้าวสารนี้เป็นแหล่งที่พักอาศัยชั่วคราว หรือที่เรียกว่าเกสต์เฮ้าส์ ดังนั้นประเพณีการเล่นน้ำสงกรานต์ของคนไทยจึงถูกใจนักท่องเที่ยวชาวต่าง ประเทศที่มาพักในถนนข้าวสารเป็นอย่างมาก โดยการเล่นสงกรานต์ถนนข้าวสารในช่วงแรกๆ ก็เป็นแต่เพียงเล่นสาดน้ำกันธรรมดาเท่านั้น
แต่เทศกาลสงกรานต์นี้มาโด่งดังในช่วง พ.ศ. 2542-2543 โดยนอกจากการเล่นสาดน้ำเป็นปกติแล้ว ก็ยังมีทั้งการจัดกิจกรรม มีเวทีการแสดง มีสปอนเซอร์เข้ามาสนับสนุน จากแต่ก่อนที่คนเล่นต้องเตรียมน้ำเตรียมแป้งมาเล่นกันเอง และมีน้ำเตรียมไว้ให้เล่นตามจุดต่างๆ ด้วยผมไปเล่นมาบ่อยมากเลยหละ เอาเป็นว่าจริงๆมีอีกเยอะครับแต่สงสารคนอ่านนิดหน่อยอ่านกันยาวๆตาลายหมด
ถนนข้าวสารเป็นถนนที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2435 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกรมโยธาธิการได้ กราบบังคมทูลให้ตัดถนนตรอกข้าวสาร เริ่มตั้งแต่ถนนหน้าวัดชนะสงคราม (ซึ่งได้นามว่าถนนชนะสงคราม) ตัดมาทางตะวันออกตามตรอกข้าวสารแล้วสร้างสะพานข้ามคลองมาบรรจบกับถนนเฟื่องนครตอนหน้าสวนหลวงตึกดิน พระราชทานนามถนนตามเดิมว่า "ถนนข้าวสาร"
ถนนข้าวสาร เดิมเป็นย่านเก่าตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 เป็นตรอกที่ขายข้าวสาร เป็นแหล่งค้าขายข้าวสารที่ใหญ่ที่สุดของเขตพระนคร ซึ่งข้าวสารจำนวนมากจะถูกขนส่งมาจากฉางข้าวหลวง สะพานช้างโรงสี ริมคลองคูเมืองเดิม หรือ ปัจจุบันก็คือ คลองหลอด เลียบมาตามแม่น้ำเจ้าพระยาขึ้นที่ท่าเรือบางลำพู เพื่อนำข้าวมาขายให้แก่ชาวบ้านในชุมชนต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ นอกจากนี้ก็ยังขายถ่านหุงข้าว ของชำ โดยถัดออกไป 1 ถนน จะเป็นคลองที่เชื่อมต่อมาจากแม่น้ำเจ้าพระยา มีการค้าขายข้าวสารมากมายจึงเรียกว่าตรอกข้าวสาร (เพราะขนาดเล็ก) ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นถนนข้าวสาร หลังจากนั้นก็เริ่มเกิดชุมชนขึ้น และขยับขยายต่อไป ต่อมาเริ่มมีร้านขายของมากขึ้น เช่นร้านขายของเล่น อย่างลูกข่าง ร้านขายก๋วยเตี๋ยวเรือ
ต่อมาความเป็นอยู่ของชุมชนแห่งนี้เริ่มเปลี่ยนไป เมื่อมีนักท่องเที่ยวต่างประเทศเข้ามาในช่วงปี พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นปีแห่งการเฉลิมฉลองกรุงเทพมหานครครบรอบ 200 ปี ได้เข้ามาเช่าห้องพักอาศัยเพื่อเที่ยวชมเมืองหลวงของไทยในช่วงเทศกาลสำคัญนี้ และเริ่มมีฝรั่งเข้ามามาถ่ายภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด โดยมีทีมงานกองถ่ายมาอยู่กันจำนวนมาก ที่มาเช่าที่ เช่าเกสเฮาส์ ซึ่งตอนนั้นยังไม่มี ก็ต้องเช่าจากบ้านที่อยู่แถวนั้นซึ่งใช้แบ่งเช่า จึงเป็นที่มาของเกสเฮาส์ เกสต์เฮ้าส์ของชาวต่างชาติเริ่มมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2528-2529 ระยะหลังเริ่มมีคนเข้ามาเรื่อย ๆ จนกลายเป็นศูนย์รวมของพวกแบ็คแพ็กเกอร์ที่มาท่องเที่ยวประเทศไทย จนเป็นที่โด่งดังในที่สุด ก่อนที่จะมาปรับเปลี่ยนรูปแบบอีกทีในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมากลายเป็นย่าน บันเทิงยามราตรีที่สำคัญของกรุงเทพฯ(เป็นไปได้ไงอะจากร้านขาของเล่นนี้นะ)
นนข้าวสารถือเป็นถนนที่ได้รับความนิยมในการเล่นน้ำในวันสงกรานต์ที่คราคร่ำไปด้วยนักท่องเที่ยวต่างชาติจากทั่วทุกมุมโลก การเล่นสงกรานต์บนถนนข้าวสารเริ่มเมื่อประมาณ พ.ศ. 2533 เนื่องจากที่ถนนข้าวสารนี้เป็นแหล่งที่พักอาศัยชั่วคราว หรือที่เรียกว่าเกสต์เฮ้าส์ ดังนั้นประเพณีการเล่นน้ำสงกรานต์ของคนไทยจึงถูกใจนักท่องเที่ยวชาวต่าง ประเทศที่มาพักในถนนข้าวสารเป็นอย่างมาก โดยการเล่นสงกรานต์ถนนข้าวสารในช่วงแรกๆ ก็เป็นแต่เพียงเล่นสาดน้ำกันธรรมดาเท่านั้น
แต่เทศกาลสงกรานต์นี้มาโด่งดังในช่วง พ.ศ. 2542-2543 โดยนอกจากการเล่นสาดน้ำเป็นปกติแล้ว ก็ยังมีทั้งการจัดกิจกรรม มีเวทีการแสดง มีสปอนเซอร์เข้ามาสนับสนุน จากแต่ก่อนที่คนเล่นต้องเตรียมน้ำเตรียมแป้งมาเล่นกันเอง และมีน้ำเตรียมไว้ให้เล่นตามจุดต่างๆ ด้วยผมไปเล่นมาบ่อยมากเลยหละ เอาเป็นว่าจริงๆมีอีกเยอะครับแต่สงสารคนอ่านนิดหน่อยอ่านกันยาวๆตาลายหมด
a day นิตยสารไทยหน้าอ่าน
07:34 | เขียนโดย
mikaalls |
แก้ไขบทความ
ป้ายกำกับ:
แค่อยากเล่า
|
0
ความคิดเห็น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)